วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2552
การวัดผลและประเมินผล
1.พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 20 %
2.พิจารณาจากใบงาน 20 %
3.พิจารณาจากกิจนิสัย ความสนใจ ,ความรับผิดชอบ และการเข้าร่วมกิจกรรม 20 %
4.การสอบภาคทฤษฎีและการสอบปฏิบัติ 40 %
จุดประสงค์รายวิชา
2.เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบการเขียนโปรแกรมทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ Window
3.เพื่อให้สามารถคอมไพล์ (Compile) Debug และการทดสอบใช้งานโปรแกรมที่เขียน
4.เพื่อให้สามารถใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานภายในระบบปฏิบัติการ Window มาประยุกต์เขียนโปรแกรมใช้งานเบื้องต้น
5.เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัย ตระหนักถึงคุณภาพของงานและมีจิริยธรรมในงานอาชีพ
สมรรถนะงานอาชีพ (อาชีพที่ทำได้จากการเรียนรายวิชานี้ระบุเพียง 1 อาชีพ)
-โปรแกรมเมอร์
คำอธิบายรายวิชา
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ไข้หวัดสายพันธ์ใหม่2009
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ที่ระบาดครั้งนี้ มีอาการเสมือนโรคไข้หวัดใหญ่รุนแรง ซึ่งผู้ป่วยบางรายในประเทศเม็กซิโก ยังเป็นโรคเสมือนปอดอักเสบอีกด้วย พบได้ในภาวะก่อนจะเสียชีวิตไม่นาน แต่จากการนำตัวอย่างเชื้อไปวิเคราะห์ในห้องตรวจสอบและแยกสายพันธุ์ เชื้อไวรัสนั้นได้พบการเปลี่ยนแปลงของสารชีวะ ดีเอ็นเอภายใน โดยปรากฏว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีวิวัฒนาการบางส่วนมาจาก ไวรัสไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์ ชนิดเอ หรือ "เอชวันเอ็นวัน" (H1N1) บางส่วนมาจาก ไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ปีก หรือ "เอชไฟฟ์เอ็นวัน" (H5N1) หรือที่เรียก "ไข้หวัดนก" และบางส่วนมาจาก ไข้หวัดใหญ่สุกร
เนื่องจากสายพันธุ์ใหม่นี้สามารถส่งผ่านระหว่างมนุษย์สู่มนุษย์ และส่งผลให้มียอดการตายของผู้ป่วยในประเทศเม็กซิโกสูงมาก องค์การอนามัยโลก และศูนย์ควบคุมโรคแห่งสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: U.S. Centers for Disease Control) จึงร่วมกันแสดงความกังวลว่าสถานการณ์ครั้งนี้อาจเลวร้ายลงจนกลายเป็น "ภาวะระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่" (อังกฤษ: influenza pandemic) ได้[30] ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2552 องค์การอนามัยโลกจึงประกาศกำหนดอย่างเป็นทางการว่า การระบาดของไข้หวัดใหญ่สุกรสายพันธุ์ใหม่ครั้งนี้เป็น "สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ"[31] นอกจากนี้ หน่วยงานด้านสาธารณสุขของรัฐบาลทั่วโลก รวมถึงศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งยุโรป (อังกฤษ: European Centre for Disease Prevention and Control) องค์กรพิทักษ์สาธารณสุขแห่งสหราชอาณาจักร (อังกฤษ: UK Health Protection Agency) และองค์กรสาธารณสุขแห่งแคนาดา (อังกฤษ: Public Health Agency of Canada) ได้พร้อมใจกันแสดงความกังวลและเฝ้าติดตามการระบาดครั้งนี้อย่างใกล้ชิด
*ภาวะเสี่ยงในการติดต่อ
ในสภาวะปัจจุบันนั้น มีโอกาสที่ไวรัสสามารถติดต่อจากคนสู่คนสูงมากและเริ่มมีการระบาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่อัตราเสี่ยงจากการรับประทานเนื้อสุกรและอาหารที่ประกอบจากเนื้อสุกรนั้นไม่มีโอกาสเลย [32] หากป่วยหรือมีอาการคล้ายไข้หวัด ควรสวมหน้ากากอนามัยและหลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชนหรือสถานที่แออัด และพบแพทย์เพื่อได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ประชาชนทั่วไปควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรง โดยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผัก ผลไม้ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ งดดื่มเหล้า ล้างมือบ่อยๆ เพื่อรักษาความสะอาด
*อาการและการสังเกต
อาการป่วยของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์เม็กซิโกนั้น จะไม่แตกต่างจากผู้ที่ป่วยด้วยโรคไข้หวัดทั่วๆ ไป ลักษณะของผู้ป่วยจะคล้ายกับเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้สูง ปวดเมื่อยตามร่างกาย ไอ มีน้ำมูก ต้องนำมาแยกเชื้อดูในห้องปฏิบัติการ เชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่มีการแพร่ติดต่อเช่นเดียวกับโรคไข้หวัดใหญ่ในคนโดยทั่วไป เชื้อที่อยู่ในเสมหะ น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย แพร่ไปยังผู้อื่นโดยการไอหรือจามรดกันในระยะใกล้ชิด(ในระยะ5เมตรทั้งซ้ายขวาหน้าหลัง) หรือติดจากมือ และสิ่งของที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่ และเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางจมูก และตา เช่น การแคะจมูก การขยี้ตา ไม่ติดต่อจากการรับประทานเนื้อสุกร (เนื้อหมู)
*การรักษา
องค์การอนามัยโลกออกมาเตือนว่าการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่นั้นยังไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อไวรัสนี้ได้ เพราะวัคซีนไข้หวัดใหญ่ยังไม่สามารถต้านเชื่อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ได้ในขณะนี้ แต่จากผลการทดสอบในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์บ่งชี้ว่า ไวรัสสายพันธุ์ใหม่สามารถรักษาได้ด้วยยาทามิฟลู และยารีเลนซาเป็นยาต้านไวรัสที่สามารถต้านไวรัสสายพันธุ์ใหม่ได้ในขณะนี้ แต่ต้องรับยาภายใน 48 ชั่วโมง เพราะมีโอกาสที่เชื้อไวรัสจะกลายพันธุ์ได้อีกในอนาคต
วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
Q_Q
การพัฒนาการเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาที่เรียนกับครูจันทร์เพ็ญ เป็นผู้มี:1) IQ (Intelligence Quotient ) การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกรบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง2) EQ (Emotion Quatient) การพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์3)TQ (Technology Quotient) การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆให้เหมาะสมกับความต้องการ4) AQ (Adversity Quotient) การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสภาพปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้5) MQ(Morality Quotient) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงาม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคม ความรู้ (Knowledge -based sociaty ) ได้เป็นอย่างดี
วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ชื่อแบบ ASCII อ่ะ
010100000101001001000001010011100100010101000101
LOVEME
010011000100111101010110010001010100110101000101
บ้านแบบภาษา C
#include
#include
main()
{
clrscr();
printf(" **********************************\n");
printf(" * ***********************************\n");
printf(" * ***********************************\n");
printf(" * ************************************\n");
printf(" * * *************************************\n");
printf(" * * * *************************************\n");
printf(" * * * **************************************\n");
printf(" * * * ***************************************\n");
printf(" * * * ****************************************\n");p
rintf(" * * * *****************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
printf(" *************************************************************\n");
getch();
return 0;
}
วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Labs โดยภาษาซีนั้นพัฒนามาจาก ภาษา B และจากภาษา BCPL ซึ่งในช่วงแรกนั้นภาษาซีถูกออกแบบให้ใช้เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมในระบบ UNIX และเริ่มมีคนสนใจมากขึ้นในปี ค.ศ.1978 เมื่อ Brain Kernighan ร่วมกับ Dennis Ritchie พัฒนามาตรฐานของภาษาซีขึ้นมา คือ K&R (Kernighan & Ritchie) และทั้งสองยังได้แต่งหนังสือชื่อว่า "The C Programming Language" โดยภาษาซีนั้นสามารถจะปรับใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆได้ ต่อมาในช่วง ปี ค.ศ.1988 Ritchie และ Kernighan ได้ร่วมกับ ANSI (American National Standards Institute) สร้างเป็นมาตรฐานของภาษาซีขึ้นมาใหม่มีชื่อว่า "ANSI C"Dennis Ritchieภาษาซีนั้นจัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่นิยมใช้งาน ซึ่งภาษาซีจัดเป็นภาษาระดับกลาง (Middle-Level Language) เหมาะกับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming) โดยมีคุณสมบัติโดดเด่นอย่างหนึ่งคือ มีความยืดหยุ่นมาก กล่าวคือ สามารถทำงานกับเครื่องมือต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนการเขียนโปรแกรมในรูปแบบต่างๆได้ เช่น สามารถเขียนโปรแกรมที่มีความยาวหลายบรรทัดให้เหลือความยาว 2-3 บรรทัดได้ โดยมีการผลการทำงานที่เหมือนเดิมครับเหตุผลที่ควรเรียนภาษาซีก็เนื่องจากภาษาซีเป็นภาษาแบบโครงสร้างที่สามารถศึกษาและทำความเข้าใจได้ไม่ยาก อีกทั้งยังสามารถเป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ได้อีก เช่น C++, Perl, JAVA เป็นต้นจาก C สู่ C++ถูกพัฒนาโดย Bjarne Stroustrup แห่ง Bell Labs โดยได้นำเอาภาษา C มาพัฒนาและใส่แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือ OOP (Object Oriented Programming) เข้าไปด้วย ซึ่งเป็นที่มาของ C++ ก็คือ นำภาษา C มาพัฒนาปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นBjarne Stroustrupจำเป็นไหม? ที่ต้องเรียนภาษา C ก่อน เรียน C++ เลยไม่ได้เหรอ? คำตอบก็คือ คุณจะเรียน C++ เลยก็ได้ครับ โดยไม่ต้องศึกษาภาษา C มาก่อน แต่ถ้าคุณเข้าใจหลักการทำงาน และการเขียนโปรแกรมภาษา C แล้วจะสามารถต่อยอด C++ ได้เร็วกว่า อีกทั้งยังสามารถเข้าใจแนวคิดการเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ได้อีก ซึ่งในบทความในช่วงแรกผมจะนำเสนอหลักและแนวคิดในการเขียนโปรแกรมภาษา C ก่อนนะครับ เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจในพื้นฐานก่อนนะครับต่อไปจะขอเกริ่นถึงการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างสักเล็กน้อยก่อนนะครับ แล้วก็จะเริ่มเข้ากระบวนการการเขียนโปรแกรมกันลักษณะโปรแกรมแบบโครงสร้างการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming) ก็คือ การนำโครงสร้างของคำสั่งหลายๆ รูปแบบ นำมาใช้ในโปรแกรม โดยจะมีการใช้คำสั่งลักษณะ goto ให้น้อยที่สุด ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง ก็มี ภาษา C, Pascal และ Cobol เป็นต้นครับ ผมจะยกตัวอย่างในภาษา C ในรูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างให้ดูดังด้านล่างนะครับภาพ: โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีแบบง่ายๆ แสดงถึงโครงสร้างจากโปรแกรมข้างต้นนะครับ สามารถแบ่งโครงสร้างตามลักษณะหน้าที่การทำงานได้ 3 ส่วนหลักๆ นะครับ ก็คือส่วนที่ 1 ประกาศค่าตัวแปร และ การกำหนดค่าให้กับตัวแปร (Declare)ส่วนที่ 2 เพิ่มค่า และเก็บค่าไว้ในตัวแปร (Calculation)ส่วนที่ 3 แสดงผลทางจอภาพ (Display)
จุดเด่นของภาษาซี
1. เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย มีลักษณะเป็นโครงสร้าง ท่านอ่านคำสั่งต่างๆแล้ว ทำความเข้าใจไม่ยากเลยสามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้อย่างไม่มีสิ่งใดมาขวางกั้น โปรแกรมทำงานได้อย่างรวดเร็ว ใช้งานได้หลากหลาย ยืดหยุ่น สามารถเขียนแยกเป็นโมดูล (เป็นโปรแกรมย่อยๆ) ได้
2. เป็นรากฐานเพื่อไปศึกษาภาษาอื่นได้อีก ไม่ว่าจะเป็น Java Perl PHP C# ล้วนแต่ถูกสร้างมาจากภาษาซี เพราะภาษาซีนั้นเป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมานานมากแล้ว และถูกนำมาใช้กันทั่วโลก และหากท่านจะสร้างภาษาโปรแกรมขึ้นมาสักภาษาหนึ่ง หากท่านอยากจะให้มันเข้าใจง่าย และใช้กันแพร่หลาย ท่านจะคิดคำสั่งเอง หรือท่านจะเอาคำสั่งที่โปรแกรมเมอร์ทั่วโลกเขาเข้าใจอยู่แล้วมาใช้ล่ะครับ แน่นอน ก็ต้องอย่างหลังอยู่แล้ว ทำให้ภาษาโปรแกรมหลายๆตัวที่นิยม ล้วนสร้างขึ้นมาจากภาษาซี หากท่านศึกษาภาษาซีก่อน เมื่อท่านไปศึกษาภาษาอื่น ท่านจะข้ามพื้นฐานไปได้เลย ทำให้การศึกษาภาษาอื่น เป็นไปด้วยความรวดเร็ว
3. เป็นภาษาที่ทำงานเร็ว คล่องตัว เพราะการเรียนภาษาซีนั้น ทำกันบนบรรทัดคำสั่ง เพื่อสั่งให้ทำงานบนหน้าจอโดยตรง หรือจะสั่งเครื่องพิมพ์ก็ย่อมได้ ภาษาโปรแกรมใหม่ๆ มักจะมีตัวแปลภาษาและอีดิตเตอร์เป็นแบบ IDE ไม่ทันไรผู้เรียนก็สามารถสร้างหน้าจอ GUI (กราฟิกยูเซอร์อินเตอร์เฟช) ได้แล้ว แต่มันเป็นง่ายไปครับ การข้ามขั้นพื้นฐานไป ทำให้ความรู้ท่านไม่แน่นพอ หากท่านเรียนภาษาซีท่านจะได้เริ่มตั้งแต่รันบนดอสกันไปเลย ทำให้ท่านเข้าใจพื้นฐานของโปรแกรมต่างๆ เมื่อพื้นฐานท่านแน่น อีกหน่อยจะไปพัฒนาระบบใหญ่ๆ หรือเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุก็สบาย
4. มีพอยเตอร์ให้เราได้ศึกษาในเรื่องของหน่วยความจำ ภาษาซีจะสามารถเข้าจัดการหน่วยความจำได้ ไม่ว่าจะเป็นการจัดสรร เพิ่มลดข้อมูลในหน่วยความจำ ก็ย่อมได้ เพราะอย่างที่ได้กล่าวไว้ว่า ภาษาซีสามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้ การจะจัดการกับหน่วยความจำก็ไม่ใช่ปัญหาเลย ท่านสามารถจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสมกับการทำงานของท่านได้ เช่น หากโปรแกรมอยู่เฉยๆก็ไม่ต้องให้โปรแกรมกินหน่วยความจำ เมื่อมันเริ่มทำงานเมื่อไหร่ก็ให้เริ่มกินหรือจองหน่วยความจำ ทำให้โปรแกรมของท่านมีความยืดหยุ่น พลิกแพลงได้ เรื่องพอยเตอร์นี่แหละครับ จุดเด่นของภาษาซี
5. มีชุดพัฒนาอยู่มากมาย เพื่อใช้ในงานเฉพาะทาง ไม่ว่าจะเป็นการจัดการกับรูปภาพ ด้วยชุดพัฒนา Images Processing การพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวส์ด้วย MFC หรือ Visual C++ และอีกมากมาย หากท่านมีพื้นฐานดีแล้ว ท่านสามารถศึกษาชุดพัฒนาเหล่านี้ได้ไม่ยาก และที่สำคัญสามารถหาชุดพัฒนาที่ถูกสร้างจากภาษาซีได้ทั่วโลก
6. ภาษาซีนั้นมีมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก นั่นหมายความว่า ท่านศึกษาครั้งเดียว ท่านเขียนได้ทั้งบน วินโดวส์และยูนิกซ์หรือลีนุกซ์ ซึ่งทำให้ท่านสามารถพัฒนาโปรแกรมในระบบปฏิบัติการหลายๆแบบได้ ไม่ต้องศึกษาภาษาใหม่เลย อาจจะศึกษาลักษณะที่ต่างกัน ก็เพียงเล็กน้อย นอกนั้นก็คล้ายกันเลยทีเดียว
7. หลายๆสถาบันมักจะให้เรียนภาษาซีเป็นภาษาแรก เพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เช่น C++ , Java ท่านยังสามารถศึกษาไปในด้านของวิชาโครงสร้างข้อมูลได้ ซึ่งใช้ในการจัดสรรทรัพยากรหน่วยความจำ การจัดเก็บข้อมูล การเรียงลำดับ การค้นหา และเป็นพื้นฐานของอีกหลายๆวิชา
จุดด้อยของภาษา C
อีกปัญหาหนึ่ง ก็คือตัวของภาษา C ไม่มีตัวจัดการจองหน่วยความจำในตัวเอง เมื่อเวลาเราต้องการจองหน่วยความจำแบบ Dynamic ภาษา C ทำ wrapper เพื่อติดต่อกับ OS เพื่อขอจองหน่วยความจำโดยตรง ปัญหาก็คือ การติดต่อกันระหว่างโปรแกรมของเรากับ OS เป็นไปอย่างหลวมๆ ถ้าโปรแกรมลืมบอก OS ว่า เลิกจองหน่วยความจำดังกล่าว หน่วยความจำนั้นก็จะถูกจองไปเรื่อยๆ เราจะเห็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วในตอนเช้า แต่พอตกบ่ายก็ช้าลงจนทำงานไม่ไหว จนสุดท้ายต้อง boot ใหม่ สาเหตุหลักของปัญหานี้คือ สิ่งที่เรียกว่าหน่วยความจำรั่ว หรือ Memory Leak ก็เรื่องจองแล้วลืมเอาคืนนั่นแหละครับ
Code โปรแกรมแสดงชื่อ ภาษา C
#include
main()
{
clrscr();
cout<<" My Name is Pranee Loveme\n";
cout<<"Addes 70/22 M.2 T.Bangjakrang A.city J.Samutsongkhram\n";
getch();
return 0;}